ปรัชญา : ความรู้คู่คุณธรรม

 header 0 2021 12 26 16 23 58

หลักสูตรบัญชีบัณฑิต
บัญชีบัณฑิต (Bachelor of Accountancy)
บช.บ. (B.Acc.)

ความสำคัญของหลักสูตร
ผลิตนักบัญชี ที่มีทั้งความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดี เพื่อรองรับการขยายตัวของตลาดแรงงาน ตลอดจนเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนและพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีของประเทศต่อไปในอนาคต

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่

๑) ด้านการทำบัญชี ๒) ด้านการสอบบัญชี
๓) ด้านการบัญชีบริหาร ๔) ด้านการภาษีอากร
๕) ด้านการวางระบบบัญชี ๖) ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีทางการบัญชี
๗) ด้านการตรวจสอบภายใน ๘) ด้านการให้คำปรึกษาทางการเงินและบัญชี

 

โครงสร้างหลักสูตรบัญชีบัณฑิต
รวมตลอดหลักสูตร ๑๒๖ หน่วยกิต
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๓๐ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๖ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาภาษา ๑๕ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๙ หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน ๙๐ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ๓๙ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาชีพบังคับ ๓๙ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาชีพเลือก ๑๒ หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต

 

header 0 2021 12 22 15 09 48

o หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
Bachelor of Business Administration (Business Computer)

บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
B.B.A. (Business Computer)

ความสำคัญของหลักสูตร

ผลิตบุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่มีทั้งความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดี ให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี สามารถทำงานและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นด้วยความรู้เต็มภาคภูมิและปฏิบัติการได้จริง

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา ได้แก่

๑) นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๒) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
๓) นักพัฒนาโปรแกรมด้านธุรกิจ ๔) ผู้จัดการโครงการคอมพิวเตอร์
๕) นักออกแบบและพัฒนา Homepage ๖) ผู้ดูแลเว็บไซต์
๗) ผู้ให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (Help Desk)
๘) ผู้จัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๙) ประกอบอาชีพอิสระและธุรกิจส่วนตัว โดยการนำวิชาความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้

 

โครงสร้างหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
รวมตลอดหลักสูตร ๑๒๐ หน่วยกิต
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๓๐ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๖ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาภาษา ๑๕ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๙ หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเฉพาะ จำนวน ๘๔ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาแกน ๓๐ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน ๔๒ หน่วยกิต
- กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ ๑๕ หน่วยกิต
- กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์ ๑๒ หน่วยกิต
- กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ ๙ หน่วยกิต
- กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ ๖ หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาเลือก ๑๒ หน่วยกิต
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต